กอล์ฟกีฬาคนรวย กอล์ฟกีฬาของชนชั้นสูง กีฬากอล์ฟกับทำไมถึงเป็นกีฬาคนรวย
กอล์ฟกีฬาคนรวย กอล์ฟกีฬาของชนชั้นสูง ทำไมนักธุรกิจ ต้อง ตีกอล์ฟ เจาะลึกและ เรียนรู้เรื่องราว ของกีฬากอล์ฟที่ ทำไมถึงเป็นกีฬาของคนรวย อะไรคือตัวกำหนด ทำไมกอล์ฟถึงเป็นกีฬาที่ เข้าถึงยาก และทุกคนเข้าไม่ถึงยกเว้น คนมีฐานะและมีเงิน
ทำไมถึงเป็นแบบนั้นและ กีฬากอล์ฟหากพูดถึงในสังคมไทย นี้คือกีฬาของคนรวยที่ต้อง มีเงินหรือเป็นนักธุรกิจ มีเงินจำนวนมาก และคนไทยทุกคน ถูกปลูกฝังมาแบบนี้ มาตั้งแต่สมัยก่อนตั้งแต่เด็ก คนส่วนใหญ่
ก็มักจะได้ยินมาแบบนี้ และไม่ใช่แค่ในประเทศไทย เท่านั้น แต่ยังรวมถึง หลายประเทศทั่วโลก ที่มีการปลูกฝังแบบนี้ โดยหากพูดถึงจุดกำเนิด ของกีฬากอล์ฟนั้น โดยกีฬากอล์ฟนั้น มีความเกี่ยวพัน กับชนชั้นนำ เว็บดูบอลสดฟรี เว็บดูบอลสดฟรี
ตั้งแต่จุดเริ่มต้น ในศตวรรษที่15 เมื่อมีหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ บันทึกว่า พระเจ้าเจมส์ที่2 แห่งสกอตแลนด์ ทรงออกคำสั่ง ห้ามทหารเล่นกีฬากอล์ฟ และฟุตบอล ในปีค.ศ.1457 ความนิยมของกีฬากอล์ฟในหมู่ราชวงศ์
และขุนนาง ไม่ลดน้อยถอยลง จากคำสั่งดังกล่าว พระเจ้าเจมส์ที่4 แห่งสกอตแลนด์ ยกเลิกแบนกีฬากอล์ฟ ในสก็อตแลนด์ และสั่งช่างทำธนู ผลิตอุปกรณ์ เล่นกอล์ฟขึ้นมา ในปี1502 ถือเป็นการซื้อขายอุปกรณ์
เพื่อเล่นกีฬากอล์ฟ ครั้งแรกของโลก กีฬากอล์ฟกระจายความนิยม ทั่วสหราชอาณาจักร แม้แต่ผู้หญิง ในราชสำนัก ยังให้ความสนใจ ต่อกีฬาประเภทนี้ สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่1 แห่งสกอตแลนด์ ถูกบันทึกว่าเป็น
ผู้หญิงคนแรกที่ เล่นกีฬากอล์ฟ ในปี1567 ก่อนที่จะมีข้ออนุญาต จากราชสำนักสกอตแลนด์ และอังกฤษ อนุญาตให้ประชากร ในประเทศ สามารถเล่น กีฬากอล์ฟในวันอาทิตย์ เห็นได้ชัดว่ากีฬากอล์ฟ คือกิจกรรมพักผ่อน
ของชนชั้นสูง ในสหราชอาณาจักร วัฒนธรรมรวมถึงองค์ประกอบ ของกีฬากอล์ฟ เช่น กฏกติกา, มารยาทในการแข่งขัน, สนามกอล์ฟ หรืออุปกรณ์การเล่น ล้วนมีความยุ่งยาก ตามมุมมองของชนชั้นล่าง และใช้ต้นทุนสูง
เนื่องจากความฟุ่มเฟือย และจารีตทางสังคม ผูกติดกับ ชนชั้นนำในยุโรป มายาวนาน การอุปถัมภ์กีฬา กอล์ฟของเหล่า กษัตริย์ในสหราชอาณาจักร คือรากฐานสำคัญ ของกีฬาชนิดนี้ ถึงปัจจุบัน อันนำมาซึ่ง
การแข่งขันกอล์ฟครั้งแรกของโลก เกิดขึ้นเมื่อปี 1681 จากความขัดแย้งระหว่าง สกอตแลนด์ กับ อังกฤษ ว่าฝั่งไหนจะเป็นผู้ถือสิทธิของกีฬากอล์ฟ พระเจ้าเจมส์ที่7 แห่งสกอตแลนด์คว้าชัยชนะในการแข่งขัน
ขณะดำรงตำแหน่ง ดยุกแห่งออลบานี ร่วมกับสามัญชน จอห์น เพเตอร์สัน กีฬาคนรวย pantip ที่ทำอาชีพเป็นพ่อค้าขายพาย เพเตอร์สันได้รับรางวัล เป็นเงินมหาศาล เขานำมันไปสร้างบ้านหลังใหญ่ ปัจจุบันรู้จักกันในชื่อ Golfers Land
กอล์ฟกีฬาคนรวย กอล์ฟกีฬาของชนชั้นสูง กีฬากอล์ฟกับการพูดคุยติดต่อธุรกิจอุตสาหกรรม
ชาวบริติชพา กีฬากอล์ฟไป ทุกที่ที่พวกเขาไป รีสอร์ตหลาย แห่งในยุโรป เริ่มสร้าง สนามกอล์ฟ เพื่อรองรับ ความต้องการ ของนักท่องเที่ยว จากบริติช ชาวบริติชเอง เทนนิส กีฬา คนรวย เริ่มถ่ายทอดวิธีทาง การเล่นกอล์ฟแก่ชนชาติอื่น
ผ่านชนชั้นใหม่ ที่เติบโตอย่างรวดเร็ว แทนสังคมขุนนางหลัง การปฏิวัติอุตสาหกรรม นั่นคือ ชนชั้นนายทุน ตามแนวคิด ทุนนิยมที่ กำลังเบ่งบานในภูมิภาคยุโรป ชนชั้นนายทุน ไม่มีบทบาททางการเมือง
ในช่วงเวลาที่ กีฬากอล์ฟยุคใหม่ ถือกำเนิด การจัดตั้งสโมสร กอล์ฟในศตวรรษที่18 คือตัวอย่าง แนวคิดจากสังคมขุนนาง ที่มีวิธีประกอบ กิจการแบบผูกขาด โดยสมาคมอาชีพ แต่เมื่อเกิด การปฏิวัติอุตสาหกรรม LIV GOLF
นายทุนสมัยใหม่ เข้ามามีอิทธิพล แทนสังคมขุนนาง ที่กำลังล่มสลาย กีฬากอล์ฟก็กระจาย ตัวสู่ชนชั้นพ่อค้า ที่ยกตัวเองขึ้นมา สู่การเป็นชนชั้นสูงของสังคม ก่อนพามันกระจาย ตัวสู่ทั่วโลก ผ่านเรือเดินสินค้า ของพวกเขา
ปี1904 พ่อค้าชาจากอังกฤษ อาเธอร์ กรูม สร้างสโมสรกอล์ฟ แห่งแรกในญี่ปุ่น ที่เมืองโกเบ เพื่อใช้เป็นพื้นที่ คบค้ากับ พ่อค้าชาวอังกฤษ และสกอตแลนด์ รายอื่น ไม่นานนัก เมื่อขุนนางญี่ปุ่นที่เดินทางไปต่างประเทศ
เพื่อศึกษาอุตสาหกรรม และการค้าจาก ฝั่งตะวันตก ตามนโยบาย การฟื้นฟูเมจิ กลับมาสู่บ้านเกิด จึงได้รวมตัวกับ ชาวบริติช เพื่อเล่นกีฬากอล์ฟ นำมาสู่การสร้าง สโมสรกอล์ฟที่เมืองโตเกียว โดยชาวญี่ปุ่น
กีฬากอล์ฟกลายเป็นตัวกลาง ทำไมนักธุรกิจ ต้อง ตีกอล์ฟ ในการเชื่อมโยง วัฒนธรรมระหว่าง 2ประเทศ หลังการตั้งสโมสร กอล์ฟในต่างแดน ชนชั้นสูงของ แต่ละประเทศ ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิก และแลกเปลี่ยนความสัมพันธ์
ระหว่างชาวบริติช ชนชั้นนำท้องถิ่น และพ่อค้า จึงรวมกลุ่ม สู่สังคมเดียวกัน ด้วยการเล่นกีฬากอล์ฟ เพื่อประชุมพูดคุย และคุยธุรกิจกัน รวมถึงแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมต่างๆ ผ่านทางกีฬากอล์ฟ
กอล์ฟกีฬาคนรวย กอล์ฟกีฬาของชนชั้นสูง กับการแบ่งชนชั้นอย่างชัดเจนจากจีน
การปฏิวัติอุตสาหกรรม, ลัทธิอาณานิคม และแนวคิดทุนนิยม สอดคล้องกับ กีฬากอล์ฟถึงฐานราก สวนทางกัน กีฬากอล์ฟกับเป็น ปริปักษ์ต่อชนชั้นแรงงาน และลัทธิคอมมิวนิสต์ กีฬากอล์ฟซึ่งแพร่กระจาย ไปยังประเทศจีน
ในปี1896 ถึงกับมีสนามกอล์ฟ ขนาด 9หลุม กลางกรุงปักกิ่ง กลับถูกแบนหลัง เหมา เจ๋อ ตง ครองอำนาจในปี ค.ศ.1949 พรรคคอมมิวนิสต์จีนมองว่า กอล์ฟคือกีฬาของชนชั้นสูง และพ่อค้า รวมถึงมาจากการเผยแพร่
ของต่างชาติผู้นิยม ลัทธิจักรวรรดินิยม ซึ่งขัดกับลัทธิเหมา ที่ให้ความสำคัญ กับลัทธิคอมมิวนิสต์ และลัทธิชาตินิยม กีฬากอล์ฟจึงหายไป จากสังคมจีนนับแต่นั้น กระทั่งปีค.ศ.1984 จึงเริ่มมีการเปิดใช้งาน
สนามกอล์ฟใน ประเทศจีนอีกครั้งหนึ่ง หลังการปฏิวัติทางวัฒนธรรม ทำไม กีฬากอล์ฟใน ประเทศไทย มี คนเล่น และ สนใจ น้อย และประกาศปฏิรูปเศรษฐกิจ ประเทศจีนกลายเป็น ทุนนิยมเผด็จการ แม้ยังสมาทาน กับลัทธิคอมมิวนิสต์ทางการเมือง
แต่ทางเศรษฐกิจ พวกเขาปรับเปลี่ยน ก้าวเข้าสู่การเป็นทุนนิยม ข้าราชการชาวจีน ที่มีฐานะทางการเงิน และเดินทางไป ต่างประเทศบ่อยครั้ง มองว่ากีฬากอล์ฟ คือสัญลักษณ์ของความร่ำรวย หรูหรา และทันสมัย
กลุ่มเศรษฐี-พ่อค้าในประเทศจีน จึงหันมานิยมกีฬากอล์ฟ ไม่ต่างจากชนชั้นนำ ในสหราชอาณาจักร ทั้งที่วัฒนธรรมประจำชาติ ต่างกันคนละขั้ว แต่สิ่งนี้ก็สะท้อนว่า กีฬากอล์ฟแม้แต่จีนก็มองว่า เป็นกีฬาของชนชั้นสูงในระดับหนึ่ง
กีฬากอล์ฟกีฬาชนชั้นนำที่ในปัจจุบันก็ ยังมองว่าเป็นกีฬาสำหรับชนชั้นสูงอยู่ดี
แม้ในปัจจุบันการเล่นกีฬากอล์ฟ จะไม่มีเรื่องของชนชั้นมาเกี่ยวข้องแล้ว และใครก็สามารถเล่นได้ แต่ก็ยังมีกลุ่มคนที่คิดว่า การเล่นกอล์ฟสร้างความภูมิใจ ให้แก่ชนชั้นนำ ตามลัทธิชนชั้นนำ หรือ Elitism กีฬากอล์ฟควรถูก วางตัวให้เหนือกว่ากีฬาชนิดอื่น
และจำกัดไว้แค่ ชนชั้นนำของสังคม ถึงจะฟังดูใจแคบ พนัน กอล์ฟ Pantip แต่มีคนดังไม่น้อย ที่เห็นด้วยกับ แนวคิดดังกล่าว โดนัลด์ ทรัมป์ อดีตประธานาธิบดี ของสหรัฐอเมริกา คือหนึ่งในนั้นคนที่เห็นด้วย
กับสถานะของกีฬากอล์ฟ ตามลัทธิชนชั้นนำ ทรัมป์มองว่า กอล์ฟคือกีฬาระดับสูง และไม่ควรลดสถานะลง ไปเป็นกีฬาเพื่อประชาชน กลับกัน ชนชั้นกลาง หรือชนชั้นล่าง ควรสร้างฐานะตัวเอง ให้เพรียบพร้อม
เหมาะสมกับกีฬากอล์ฟ ที่มีธรรมเนียม อันควรรักษาไว้ แก่ผู้มีฐานะ และความรู้เพรียบพร้อม คำพูดของ โดนัลด์ ทรัมป์ ยืนยันความจริงอย่างหนึ่ง ที่เกี่ยวข้องกับกีฬากอล์ฟ นั่นคือ ค่าใช้จ่ายมหาศาล
ไม่ใช่ในการหัดเล่น แต่การเข้าเป็น ส่วนหนึ่งของสังคม ในปีค.ศ.2010 มีรายงานว่า ชาวจีนต้อง เสียเงินค่าแรกเข้า เพื่อเป็นสมาชิก ของสมาคมกอล์ฟ เป็นจำนวน 50,000 ดอลลาร์สหรัฐฯ หรือราว 1.65 ล้านบาท
บทความและความคิดเห็นของBBC ต่อกีฬากอล์ฟที่ยังโดนแบ่งแยกจากบุคคลทั่วไปอยู่
เว็บไซต์ BBC เขียนบทความว่า กอล์ฟไม่ต่างจากกีฬาทั่วไป ที่ต้องการแค่ สนาม และบอล รวมถึงมีค่าใช้จ่าย เพียง 40 ดอลลาร์สหรัฐฯ หากลงเล่นในสนามท้องถิ่น คนตีกอล์ฟ pantip แต่บรรดาผู้นิยมกีฬากอล์ฟ กลับเสียเงินมหาศาล
เพียงต้องการ ให้ชื่อของตัวเอง เป็นส่วนหนึ่งของ สโมสรกอล์ฟชื่อดัง กีฬากอล์ฟเปรียบเสมือนเสื้อผ้าแฟชั่น ที่ชนชั้นนำสวมใส่ แม้จะราคาแพง ไม่ต่างจากเสื้อผ้าทั่วไป แต่มันคือเครื่องประดับ เพื่อบ่งบอกฐานะ แก่สังคมว่า พวกเขาคือ ชนชั้นสูง